มนุษย์ “ขี้เหยียด” เพราะ “ความรู้สึกไม่มั่นคง” ในตัวเอง…เพียง “ความแตกต่าง” จึงกลายเป็นภัยของเผ่าพันธุ์ โดยเฉพาะในสังคมที่ทำให้ผู้คนรู้สึกขาดแคลนจนกลัวถูกแย่งทรัพยากร

พฤติกรรมการ “เหยียด” นี้มีเบื้องลึกเบื้องหลังมาจาก “ความรู้สึกไม่มั่นคง” ทั้งต่อสังคมที่อยู่ และรู้สึกไม่มั่นคงในตัวเอง
จึงไม่แปลกที่คนต่างจังหวัดที่พากันเข้ามาหางานทำในเมืองหลวงกลายเป็นกลุ่มที่ถูกดูแคลนที่สุด ด้วยความรู้สึกกลัวว่าทรัพยากรและโอกาสที่มีจำกัดอยู่แล้ว จะยิ่ง “ไม่พอ” เข้าไปอีก

การ Body Shaming ที่ไม่มีคำว่า “อ้วน” อยู่ในประโยค ก็สามารถทำร้ายคนอื่นได้

ในยุคที่สังคมโลกมีการพัฒนาเรื่องการตระหนักถึงการเคารพความแตกต่าง สิทธิ เสรีภาพของเพื่อนมนุษย์มากขึ้น พฤติกรรม Body Shaming กลายเป็นเรื่อง “น่ารังเกียจ” มากขึ้น จึงอาจทำให้บางคนกล้าที่จะพูดคำว่า “อ้วน” ใส่คนอื่นน้อยลง
แต่การ Body Shaming เหยียดรูปลักษณ์เกิดขึ้นได้แม้ไม่มีคำว่า “อ้วน” อยู่ในประโยค

คุยเรื่องสังคมอุดมการเหยียดรูปลักษณ์ และ Beauty Privilege กับคุณอัญชลี อิสมันยี(ตอนที่ 1)

ปฏิเสธไม่ได้เลยว่าหนึ่งในความเจ็บปวดยอดนิยมของผู้หญิงไทย คือการต้องอยู่กับ “Body Shaming” มาทั้งชีวิต…
หนึ่งในผู้หญิงที่เคย “เจ็บ” กับชะตากรรมเหล่านั้น
คือ “คุณอัญชลี อิสมันยี” หรือ คุณน้ำ
สาวนักดนตรีมีอุดมการณ์ แห่งวง “คีตาญชลี”
ซึ่งวันนี้ WE Think ได้มีโอกาสนั่งคุยกับเธอในเรื่องเหล่านี้กัน

วิธีรับมือกับคนใกล้ตัวที่ชอบวิจารณ์รูปร่าง(Body Shaming)

การ “รักตัวเอง” ย่อมไม่ใช่ความ “เห็นแก่ตัว” โปรดอย่ารู้สึกผิด หากคุณเลือกที่จะรักษาสุขภาพจิต และความสามารถในการรักและเคารพตัวเองของคุณ(Self-esteem)ให้ปลอดภัย มากกว่าการแคร์ความคิดผู้อื่น หรือแม้กระทั่งการรักษาความสัมพันธ์ที่คุณได้รับผลกระทบแย่ๆ เสมอ