“วัฒนธรรมผักชีโรยหน้า”…ค่านิยม “หลอกตัวเอง” สร้างภาพลวงตาทับความเป็นจริงที่ฝังกลบความเจริญของประเทศไทยไว้จนมิด

“วัฒนธรรมผักชีโรยหน้า” พัฒนาแบบขอไปทีเหล่านี้ ไม่ใช่แค่ภาพของปัญหา “วัฒนธรรมเช้าชามเย็นชาม” ที่เกิดจากคนทำงานที่ไม่เหมาะกับงาน หรือ passion ของข้าราชการไทยที่หดหายตามฐานเงินเดือนเท่านั้น
แต่แท้ที่จริงคือการ “หลอกตัวเอง” อย่างตั้งใจไปพร้อมๆ กับ “หลอกสังคม” เพื่อสร้างภาพลวงตาเข้าข้างตัวเองร่วมกันด้วย

“ความดีย์” ของเธออาจไม่ใช่ความดีแบบของฉัน… ไม่แปลกที่“ไม้บรรทัดความดี”ของมนุษย์ต่างกัน แต่ความสามานย์คือรัฐที่จำกัดเงื่อนไขความดีเป็นกฎหมายเพื่อลิดรอนทางเลือกอื่น

การที่ “เกณฑ์ศีลธรรมในอุดมคติ” ส่งผลต่อทัศนคติทางการเมืองของมนุษย์ต่างกันไม่ใช่เรื่องผิด แต่ความสามานย์คือการที่บางประเทศมี “ระบอบเผด็จการ” กีดกันไม่ให้ประชาชนมีสิทธิ์เลือกใช้ชีวิตตามเกณฑ์ความดีของพวกเขา

พลังความกร่างของสาวก “อำนาจนิยม” ไม่ใช่ความกล้าหาญ แต่คือ “นิสัยขี้กลัว” แบบหมาดุติดบ้าน… ที่กลัวแม้กระทั่งการมี “เสรีภาพ”

ในขณะที่ “กองทัพคนดีย์” พิทักษ์อำนาจนิยมเหล่านี้คิดว่าตนเป็นเหล่าผู้กล้าหาญ ความจริงแล้วพวกเขาเป็นเพียงหมาที่เผด็จการปลูกฝัง “นิสัยขี้กลัว” ให้จนกลายเป็นหมาดุ

ทำไมคนทุเรศในสังคม ถึงมักพรีเซนต์ความธรรมมะธัมโม และเลขเก้าไทย…เพราะพวกเขามี“บัตรผ่านความดี”(Moral License) ให้ตัวเองยังไงล่ะ

“Moral License”หรือ “บัตรผ่านความดี” เป็นคำที่ใช้ในวงการจิตวิทยาสังคมหรือการตลาด อธิบายถึงปรากฏการณ์ทางจิตใต้สำนึกที่ผู้คนทำเพื่อปกป้องภาพลักษณ์ การรับรู้คุณค่าตนเอง ก่อนหรือหลังการทำพฤติกรรมที่ขัดกับอุดมคติความดีของตนหรือสังคม