มนุษย์ “ขี้เหยียด” เพราะ “ความรู้สึกไม่มั่นคง” ในตัวเอง…เพียง “ความแตกต่าง” จึงกลายเป็นภัยของเผ่าพันธุ์ โดยเฉพาะในสังคมที่ทำให้ผู้คนรู้สึกขาดแคลนจนกลัวถูกแย่งทรัพยากร

พฤติกรรมการ “เหยียด” นี้มีเบื้องลึกเบื้องหลังมาจาก “ความรู้สึกไม่มั่นคง” ทั้งต่อสังคมที่อยู่ และรู้สึกไม่มั่นคงในตัวเอง
จึงไม่แปลกที่คนต่างจังหวัดที่พากันเข้ามาหางานทำในเมืองหลวงกลายเป็นกลุ่มที่ถูกดูแคลนที่สุด ด้วยความรู้สึกกลัวว่าทรัพยากรและโอกาสที่มีจำกัดอยู่แล้ว จะยิ่ง “ไม่พอ” เข้าไปอีก

การ Body Shaming ที่ไม่มีคำว่า “อ้วน” อยู่ในประโยค ก็สามารถทำร้ายคนอื่นได้

ในยุคที่สังคมโลกมีการพัฒนาเรื่องการตระหนักถึงการเคารพความแตกต่าง สิทธิ เสรีภาพของเพื่อนมนุษย์มากขึ้น พฤติกรรม Body Shaming กลายเป็นเรื่อง “น่ารังเกียจ” มากขึ้น จึงอาจทำให้บางคนกล้าที่จะพูดคำว่า “อ้วน” ใส่คนอื่นน้อยลง
แต่การ Body Shaming เหยียดรูปลักษณ์เกิดขึ้นได้แม้ไม่มีคำว่า “อ้วน” อยู่ในประโยค

โฆษณาทิชชู่เปียกเช็ดเครื่องสำอางของจีนถูกโซเชียลรุมแบน เพราะมีเนื้อหาเหยียดเพศ และ Victim Blaming เหยื่อสาวที่ถูกสตอล์คเกอร์

โฆษณาทิชชู่เปียกเช็ดเครื่องสำอางยี่ห้อ Purcotton ในประเทศจีน ถูกพลังโซเชียลรุมกระหน่ำแบน เนื่องจากมีเนื้อหาเหยียดเพศ เหยียดรูปลักษณ์ และโทษเหยื่อ(Victim Blaming) อย่างเกินอภัย จนถึงขั้นเรียกร้องให้คว่ำบาตรบริษัทผู้ผลิต