การปฏิเสธ “สิทธิมนุษยชน” ทั้งที่ตนก็เป็น “มนุษย์” …เกิดขึ้นได้เมื่อคนเรามั่นใจว่าตนเป็นมนุษย์ที่ดีกว่า จนได้รับอภิสิทธิ์ช่วยผู้มีอำนาจจำกัดสิทธิเสรีภาพคนอื่น

ความเชื่อใน “ความไม่เท่าเทียม” ทำให้เกิดการสนับสนุนให้มีการ “ละเมิดสิทธิมนุษยชน” แทนที่จะรักษาไว้เผื่อตนเอง
มาจากความมั่นใจอย่างสุดโต่ง ว่าตนเป็นผู้มีอภิสิทธิ์ในระบอบอำนาจนิยม จนไม่ต้องเผชิญกับความไม่เป็นธรรมใดตามมาตรฐานของคนทั่วไป

คนที่มีบุคลิกแบบ “เผด็จการ” ไม่ว่าจะเชียร์ม็อบไหนก็เป็นทาสอำนาจนิยมและมนุษยธรรมมีปัญหาอยู่ดี

ไม่ว่าจะฝักใฝ่ขั้วการเมืองใด “คนเผด็จการ” มักมีโลกทัศน์เป็นสี “ขาว” และ “ดำ” แบบชัดเจน ทั้งยังโหยหา “อำนาจนิยม” เพื่อให้พวกเขายึดไว้ และใช้มันฟาดใครก็ตามที่รุกราน “อัตตา” ของพวกเขา

“วัฒนธรรมผักชีโรยหน้า”…ค่านิยม “หลอกตัวเอง” สร้างภาพลวงตาทับความเป็นจริงที่ฝังกลบความเจริญของประเทศไทยไว้จนมิด

“วัฒนธรรมผักชีโรยหน้า” พัฒนาแบบขอไปทีเหล่านี้ ไม่ใช่แค่ภาพของปัญหา “วัฒนธรรมเช้าชามเย็นชาม” ที่เกิดจากคนทำงานที่ไม่เหมาะกับงาน หรือ passion ของข้าราชการไทยที่หดหายตามฐานเงินเดือนเท่านั้น
แต่แท้ที่จริงคือการ “หลอกตัวเอง” อย่างตั้งใจไปพร้อมๆ กับ “หลอกสังคม” เพื่อสร้างภาพลวงตาเข้าข้างตัวเองร่วมกันด้วย

มนุษย์ “ขี้เหยียด” เพราะ “ความรู้สึกไม่มั่นคง” ในตัวเอง…เพียง “ความแตกต่าง” จึงกลายเป็นภัยของเผ่าพันธุ์ โดยเฉพาะในสังคมที่ทำให้ผู้คนรู้สึกขาดแคลนจนกลัวถูกแย่งทรัพยากร

พฤติกรรมการ “เหยียด” นี้มีเบื้องลึกเบื้องหลังมาจาก “ความรู้สึกไม่มั่นคง” ทั้งต่อสังคมที่อยู่ และรู้สึกไม่มั่นคงในตัวเอง
จึงไม่แปลกที่คนต่างจังหวัดที่พากันเข้ามาหางานทำในเมืองหลวงกลายเป็นกลุ่มที่ถูกดูแคลนที่สุด ด้วยความรู้สึกกลัวว่าทรัพยากรและโอกาสที่มีจำกัดอยู่แล้ว จะยิ่ง “ไม่พอ” เข้าไปอีก

“ความดีย์” ของเธออาจไม่ใช่ความดีแบบของฉัน… ไม่แปลกที่“ไม้บรรทัดความดี”ของมนุษย์ต่างกัน แต่ความสามานย์คือรัฐที่จำกัดเงื่อนไขความดีเป็นกฎหมายเพื่อลิดรอนทางเลือกอื่น

การที่ “เกณฑ์ศีลธรรมในอุดมคติ” ส่งผลต่อทัศนคติทางการเมืองของมนุษย์ต่างกันไม่ใช่เรื่องผิด แต่ความสามานย์คือการที่บางประเทศมี “ระบอบเผด็จการ” กีดกันไม่ให้ประชาชนมีสิทธิ์เลือกใช้ชีวิตตามเกณฑ์ความดีของพวกเขา

Don’t kill me with your Ego. สิ่งที่ทำลายอนาคตของคนรุ่นใหม่อย่างแท้จริง คือ “อีโก้” สูงลิ่ว และ “ภาพลวงตาเชิงบวก” ของคนรุ่นก่อนที่ไม่ยอมปล่อยมือจากอำนาจในการควบคุมโลก

ความจริงแล้วมนุษย์ทุกคนสามารถตกอยู่ในความยึดติด “ภาพลวงตาเชิงบวก” ของตัวเองได้ทั้งนั้น
แต่อันตรายคือการที่ภาพลวงตาจากอีโก้อันสูงลิ่วของคนไม่กี่คน มีผลต่อความเป็นความตาย และคุณภาพชีวิตของคนหมู่มาก โดยเฉพาะหากในสังคมนั้นไม่มีระบบคอยคานอำนาจ หรือตรวจสอบไม่ให้ “อีโก้” เหล่านี้มีอำนาจเบ็ดเสร็จ

ชวนดู Sex Education ซีซั่น 3 ซีรีส์ที่ไม่ได้สอนแค่เรื่องเพศศึกษาแบบเข้าใจง่าย…แต่ซีซั่นนี้ยังคล้าย “สังคมไทย” แบบจำลอง

ใน Sex Edudation ซีซั่น 3 ดร.จีน มิลเบิร์น นักจิตวิทยาด้านความสัมพันธ์และ Sex ให้สัมภาษณ์ในรายการทีวีว่า “โรงเรียนที่สอนให้วัยรุ่นรักนวสงวนตัว มีอัตราวัยรุ่นท้องและติดโรคสูงกว่าโรงเรียนที่สอนเรื่องเพศแบบเปิดกว้าง”
ไม่ต่างจากประเทศแถวนี้ที่สอนให้คนระงับความต้องการทางเพศเพื่อหลีกเลี่ยงปัญหาทางเพศ

ไม่แปลกที่สังคมอุดม “อำนาจนิยม” จะเต็มไปด้วย “พ่อแม่ที่เป็นพิษ” และค่านิยม normalize การทารุณกรรมเด็ก…เพราะคนที่ถูกเลี้ยงมาด้วย “ความกลัว” ย่อมป้อนสิ่งเดียวกันต่อคนรุ่นถัดไป

เหยื่อของพ่อแม่เป็นพิษที่เลี้ยงดูลูกด้วยความกลัว เมื่อโตขึ้นกลายเป็นพ่อแม่คน เป็นครูสอนนักเรียน เป็นผู้กำหนดหลักสูตรการศึกษา เป็นรัฐมนตรีที่ดูแลการศึกษาและเยาวชน เป็นผู้นำประเทศ ฯลฯ
จึงส่งต่อ “วิธีสร้างคน” แบบที่เคยสร้างพวกเขามาไปยังรุ่นถัดไป

จิตวิทยาแห่งการเป็น “ติ่ง” …รักแบบมีสติจะได้แรงบันดาลใจ และความตระหนักใน “ประชาธิปไตย” แต่ถ้าคลั่งมากไปต่อม “มนุษยธรรม” ก็ถูกปิดใช้งานได้เหมือนกัน

ความเป็นน้ำหนึ่งใจเดียวแบบชาว “ด้อม” ที่รักคนๆ เดียวกันทำให้ฮอร์โมน“Oxytocin” ที่เรียกกันบ่อยว่า “ฮอร์โมนแห่งรัก” ที่หลั่งออกมายามมนุษย์มีความผูกพันอบอุ่นต่อกันนั้นหลั่งออกมา ซึ่งนอกจากช่วยให้มนุษย์ปลอดภัยจากความอยากตายแล้ว ในอีกด้านหนึ่งมันยังสร้างสัญชาติญาณในการต่อสู้กับ “ศัตรู” ที่ทำให้รู้สึกว่าเผ่าของตนไม่ปลอดภัยอีกด้วย

ทำไมเราจึงหลงรักตัวละคร “วายร้าย” ? …ผู้ที่โอบกอด “ด้านมืด”(Shadow self) ของตัวเองได้ ไม่อันตรายเท่าผู้ที่ป่าวประกาศว่าตนคือ “คนดีย์”

การมอง “Shadow self” ของตัวเราเองผ่านตัวละคร “วายร้าย” จะเรียกว่าเป็น Self love ก็ได้ เพราะหากเราสามารถเข้าอกเข้าใจ และเห็นอกเห็นใจวายร้ายเหล่านั้นได้ ก็แปลว่าเราสามารถเข้าใจ “ด้านเงา” ของเราเองด้วย

1 2 3 5